ประวัติการทำงาน ของ สุรินทร์ เริงอารมณ์

  • นายทหารปราบเรือดำน้ำ ร.ล.ปิ่นเกล้า ตุลาคม พ.ศ. 2514
  • ต้นเรือ ร.ล.สัตหีบ ตุลาคม พ.ศ. 2516
  • ต้นเรือ ร.ล.พงัน
  • ประจำกองวิจัยและพัฒนาการรบ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการทหาร ฯ ต.ค.22
  • ผู้บังคับการ เรือหลวงปราบปรปักษ์ ตุลาคม พ.ศ. 2525
  • ผู้บังคับการ เรือหลวงราชฤทธิ์ ตุลาคม พ.ศ. 2526
  • ผู้บังคับการเรือหลวงรัตนโกสินทร์ กันยายน พ.ศ. 2529
  • ผู้อำนวยการกองยุทธการ กองเรือยุทธการ ตุลาคม พ.ศ. 2533
  • เสนาธิการ กองเรือปราบเรือดำน้ำ ตุลาคม พ.ศ. 2534
  • เสนาธิการ กองเรือฟริเกตที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2535
  • ผู้ช่วยเจ้ากรมยุทธการทหารเรือ ตุลาคม พ.ศ. 2536
  • ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารเรือ ประจำกรุงปักกิ่ง ตุลาคม พ.ศ. 2537
  • ผู้ช่วยเจ้ากรมยุทธการทหาร ตุลาคม พ.ศ. 2540
  • เจ้ากรมยุทธการทหารเรือ ตุลาคม พ.ศ. 2542
  • เสนาธิการ กองเรือยุทธการ ตุลาคม พ.ศ. 2544
  • เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ ตุลาคม พ.ศ. 2545
  • เสนาธิการทหารเรือ ตุลาคม พ.ศ. 2548
  • รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด พ.ศ. 2549
  • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549
บทความเกี่ยวกับชีวประวัตินี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล

ใกล้เคียง

สุรินทร์ สุรินทร์ พิศสุวรรณ สุรินทร์ มาศดิตถ์ สุรินทร์ ภาคศิริ สุรินทร์ ปาลาเร่ สุรินทร์ เทพกาญจนา สุรินทร์ เศรษฐมานิต สุรินทร์ เริงอารมณ์ สุรินทร์ ประสมผล สุรินทร์ กฤตยาพงศ์พันธุ์